หลักสูตร | รัฐศาสตรบัณฑิต | |
ชื่อปริญญา | รัฐศาสตรบัณฑิต | |
Bachelor of Political Science | ||
อักษรย่อปริญญา (ภาษาไทย) | ร.บ. | |
อักษรย่อปริญญา (English) | B.Pol.Sc | |
โครงสร้างและแผนการศึกษา |
ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือ | |
แขนงวิชาการปกครอง | ||
แขนงวิชาการปกครองท้องถิ่น | ||
แขนงวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ | ||
แขนงวิชานโยบายสาธารณะ | ||
คำอธิบายรายวิชา |
ดาวน์โหลดเอกสาร | |
อาจารย์ประจำหลักสูตร |
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร | |
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร |
Program Learning Outcomes (PLOs) | |
ผลลัพธ์การเรียนรู่้ระดับวิชาเอก |
Specific Major Learning Outcomes (SMLOs) | |
(ก.ค.ศ ได้รับรองคุณวุฒิหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564 เพื่อประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา) | ||
|
||
ปรัชญาหลักสูตร |
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรผลิตบัณฑิตที่มีสมรรถนะความเชี่ยวชาญในด้านองค์ความรู้ด้านรัฐศาสตร์ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถค้นคว้าวิจัยและการฝึกปฏิบัติจริง มีความพร้อมในการทำงาน มีจิตสำนึกและกล้าหาญที่จะปกป้องความเที่ยงธรรม มีความคิดเชิงวิพากษ์และเป็นผู้ให้แนวทางแก้ปัญหาที่สร้างสรรค์ และมีทักษะในอยู่ร่วมกับองค์กรและชุมชนที่หลากหลายทางวัฒนธรรมทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับประเทศ ระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยจัดการศึกษาตามแนวทางพัฒนาการนิยม (Progressivism) ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ เน้นกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก (active learning) และพัฒนาการเรียนรู้จากความต้องการของผู้เรียน โดยเน้นกระบวนการที่ต้องลงมือปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ยังรวมไปถึงกระบวนการเรียนรู้จากการทำงานจริงจากองค์กรต่างๆ รวมถึงเรียนรู้การแก้ปัญหาจากปัญหาจริงที่เกิดขึ้นในชุมชนด้วยเช่นกัน | |
|
||
เกณฑ์การรับนักศึกษา |
1 ต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า |
|
|
โครงสร้างและแผนการศึกษา |
ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือ | ||
คำอธิบายรายวิชา |
ดาวน์โหลดเอกสาร | ||
อาจารย์ประจำหลักสูตร |
รายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตร | ||
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังระดับหลักสูตร |
Program Learning Outcomes (PLOs) | ||
|
|||
ปรัชญาหลักสูตร |
|
||
|
|||
เกณฑ์การรับนักศึกษา |
1.ต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า |
||
|
|||
อาชีพของผู้สำเร็จการศึกษา |
บุคลากรหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเช่น นักวิชาการ เจ้าพนักงานปกครอง นักการทูต นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักพัฒนาชุมชนเจ้าหน้าที่ฝ่ายบุคคล เจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เลขานุการ สื่อมวลชน เจ้าหน้าที่องค์กรพัฒนาเอกชน เจ้าหน้าที่องค์การระหว่างประเทศ ผู้ทำงานภาคประชาสังคม อาชีพอิสระหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ นักการเมืองในระดับท้องถิ่น และระดับชาติ ฯลฯ |
||
|
|||
Last Updated: 25 April 2022 |